ปัจจัยและกลไกที่นำไปสู่ความสำเร็จของการดำเนินงานกองทุนหมู่บ้าน-องค์กรชุมชนที่เป็นกลไกร่วมรัฐ
ตัวอย่างความสำเร็จ
ลำดับ |
กองทุนหมู่บ้าน |
ปีก่อตั้ง |
เงินจัดสรร/อุดหนุนจากรัฐบาล (บาท) |
ผลการดำเนินงาน(บาท) |
ผลงานเด่น-ความสำเร็จ |
1 |
กองทุนหมู่บ้านน้ำดำ จังหวัดพิษณุโลก | 2544 | ปี 2564
4,738,887.36 |
ปี 2564
6,544,875.27 |
ผลการประกอบการที่บ่งบอกถึงการระดมเงินฝากจากสมาชิก เพื่อใช้เป็นทุนสำหรับการบริการกู้ยืมเพื่อการต่าง ๆ ได้ และ เป็นจำนวนเงินที่นำมาบริหารจัดการที่มากกว่าเงินที่สมทบโดยรัฐบาล (6.5 : 4.7) |
2 |
กองทุนหมู่บ้านทองสวัสดิ์ จังหวัดอุบลราชธานี | 2544 | ปี 2564
2,470,198.22 |
ปี 2564
– |
การจัดความร่วมมือเชิงบูรณาการระหว่างองค์กรชุมชนที่ให้บริการทางการเงิน อีกจำนวน 12 แห่ง |
3 |
กองทุนหมู่บ้านวังไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช | 2548 | ปี 2564 รวมสินทรัพย์ตาม บ/ช 1-3
5,473,312.48 |
ปี 2564 การระดมเงินฝาก/ ลงทุนของชุมชน
418,743,309.40 |
เป็นแหล่งทุนสำหรับสมาชิกชุมชน จำนวน 8,553 ราย มีการ ลงทุนในโรงงานแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร อันเป็นผลมา จากความสามารถจากการระดมเงินฝาก/การสร้างความ น่าเชื่อถือ-ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการ ที่เป็นผลงานสำคัญของ “องค์กรชุมชน” |
ที่มา: พัฒนาจาก สุนทร คุณชัยมัง และคณะ (2566). ปัจจัยและกลไกการสร้างสรรค์นวัตกรรมสังคมที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากของไทย.